บริจาค

เห็นว่า..บล็อกนี้ดี มีประโยชน์... โปรดสนับสนุนผู้ทำบล็อกได้ที่ พร้อมเพย์ 083-4616989
หรือบัญชี 002-1-70462-8 กสิกรไทย สาขาบางลำภู

อินทรีย์ ๒๒ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

 


อินทรีย์ ๒๒ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

ขันธ์ ๕, อายตนะภายใน ๖ และ ธาตุ ๑๘ มีลักษณะเป็นดวงใสซ้อนกัน รวมเป็น ๒๙ ดวง อินทรีย์ ๒๒ ก็เป็นดวง มีทั้งใสและไม่ใสซ้อนกัน รวมเป็น ๕๑ ดวง ในกรณีที่นับรายชื่อ

แต่ในขณะที่เดินวิชา จะมีเพียง ๕๐ ดวง เพราะ ดวงอิตถินทรีย์/ปุริสินทรีย์ จะเหลือดวงเดียวไปตามเพศ  ดังนั้น จะมีดวงซ้อนกันไปตามลำดับ ดังนี้...

๑- ดวงที่ ๑ คือ ดวงรูป
๒- ดวงเวทนา – เห็น
๓- ดวงสัญญา – จำ
๔- ดวงสังขาร – คิด
๕- ดวงวิญญาณ – รู้
๖- ดวงตา/จักขายตนะ
๗- ดวงหู/โสตายตนะ
๘- ดวงจมูก/ฆานายตนะ
๙- ดวงลิ้น/ชิวหายตนะ
๑๐- ดวงกาย/กายายตนะ
๑๑- ดวงใจ/มนายตนะ
๑๒. จักขุธาตุ คือ ธาตุเห็นหรือธาตุรับรูป สี สัณฐาน
๑๓. โสตธาตุ คือ ธาตุได้ยินหรือธาตุรับฟังเสียง
๑๔. ฆานธาตุ คือ ธาตุได้กลิ่นหรือธาตุรับกลิ่น
๑๕. ชิวหาธาตุ คือ ธาตุรับรส
๑๖. กายธาตุ คือ ธาตุรับสิ่งสัมผัสทางกาย
๑๗. มโนธาตุ คือ ธาตะรับอารมณ์ทางใจ
๑๘. รูปธาตุ คือ ธาตุของรูป สี สัณฐาน
๑๙. สัททธาตุ คือ ธาตุของเสียง
๒๐. คันธธาตุ คือ ธาตุของกลิ่น
๒๑. รสธาตุ คือ ธาตุของรส
๒๒. โผฏฐัพพธาตุ คือ ธาตุที่เป็นสิ่งสัมผัสทางกาย
๒๓. ธัมมธาตุ คือ ธาตุอารมณ์ทางใจ
๒๔. จักขุวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้รูป หรือ เห็น รูป สี สัณฐาน
๒๕. โสตวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้เสียง หรือได้ยินเสียง
๒๖. ฆานวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้กลิ่น หรือได้กลิ่น
๒๗. ชิวหาธาตุ คือ ธาตุรับรู้รส หรือได้รับรส
๒๘. กายวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้การสัมผัส หรือรู้สึกในอารมณ์สุขและอารมณ์ทุกข์
๒๙. มโนวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้อารมณ์ รับรู้ธรรมาภรณ์ จดจำอารมณ์ คิดถึงอารมณ์
๓๐. จักขุนทรีย์
๓๑. โสตินทรีย์
๓๒. ฆานินทรีย์
๓๓. ชิวหินทรีย์
๓๔. กายินทรีย์
๓๕. มนินทรีย์
๓๖. อิตถินทรีย์/ปุริสินทรีย์
๓๗. ชีวิตินทรีย์
๓๘. สุขินทรีย์
๓๙. ทุกขินทรีย์
๔๐. โสมนัสสินทรีย์
๔๑. โทมนัสสินทรีย์
๔๒. อุเปกขินทรีย์
๔๓. สัทธินทรีย์
๔๔. วิริยินทรีย์
๔๕. สตินทรีย์
๔๖. สมาธินทรีย์
๔๗. ปัญญินทรีย์
๔๘. อนัญญตัญญัตญัสสามีตินทรีย์
๔๙. อัญญินทรีย์
๕๐. อัญญาตาวินทรีย์

ก่อนจะเดินวิชาอะไรก็ตาม เราจะต้องเดินวิชา ๑๘ กาย อนุโลม-ปฏิโลมอย่างต่้่ำๆ ๗ เที่ยว ยิ่งมากยิ่งดี เพื่อให้ดวงธรรมใส และกายธรรมใส

เมื่อดวงธรรมใสดีแล้ว กายธรรมใสดีแล้ว ก็ทำวิชาตามนี้ไปเลย

*-*-*-*-*
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง.. กลางดวงธรรมของกายมนุษย์, หยุดในนิ่งในใส, อธิษฐานต่อกายธรรมขอดู ขันธ์ ๕, และดูการทำงานของอายตนะภายใน-ภายนอก
หยุดในนิ่งในใส, จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..จุดเล็กใสใหม่ คือ ความละเอียดของขันธ์ ๕,
นิ่ง..ไปที่จุดเล็กใสใหม่, หยุดในนิ่งในใส, จุดเล็กใสจะขยายออกเป็นดวง, หยุดในนิ่งในใส, จนเห็นดวงต่างๆ คือ
๑- ดวงที่ ๑ คือ ดวงรูป
๒- นิ่ง..กลางดวงรูป-เห็นดวงเวทนา
๓- นิ่ง..กลางดวงเวทนา-เห็นดวงสัญญา
๔- นิ่ง..กลางดวงสัญญา-เห็นดวงสังขาร
๕- นิ่ง..กลางดวงสังขาร-เห็นดวงวิญญาณ
๖- นิ่ง..กลางดวงวิญญาณ-เห็นดวงตา
๗- นิ่ง..กลางดวงตา-เห็นดวงหู
๘- นิ่ง..กลางดวงหู-เห็นดวงจมูก
๙- นิ่ง..กลางดวงจมูก-เห็นดวงลิ้น
๑๐- นิ่ง..กลางดวงลิ้น-เห็นดวงกาย
๑๑- นิ่ง..กลางดวงกาย-เห็นดวงใจ

หยุดในนิ่งในใส, กลางดวงใจเห็นจุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..ดวงจักขุธาตุ
นิ่ง... กลางดวงจักขุธาตุ, เห็นดวงโสตธาตุ
นิ่ง... กลางดวงโสตธาตุ, เห็นดวงฆานธาตุ
นิ่ง... กลางดวงฆานธาตุ, เห็นดวงชิวหาธาตุ
นิ่ง... กลางดวงชิวหาธาตุ, เห็นดวงกายธาตุ
นิ่ง... กลางดวงกายธาตุ, เห็นดวงมโนธาตุ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, อธิษฐานต่อกายธรรมขอดูจักขุนทรีย์, จะเห็นดวงใสของจักขุนทรีย์
นิ่ง..กลางดวงจักขุนทรีย์-เห็นโสตินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงโสตินทรีย์-เห็นฆานินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงฆานินทรีย์-เห็นชิวหินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงชิวหินทรีย์-เห็นกายินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงกายินทรีย์-เห็นมนินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงมนินทรีย์-เห็นอิตถินทรีย์/ปุริสินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงอิตถินทรีย์/ปุริสินทรีย์-เห็นชีวิตินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงชีวิตินทรีย์-เห็นสุขินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงสุขินทรีย์-เห็นทุกขินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงทุกขินทรีย์-เห็นโสมนัสสินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงโสมนัสสินทรีย์-เห็นโทมนัสสินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงโทมนัสสินทรีย์-เห็นอุเปกขินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงอุเปกขินทรีย์-เห็นสัทธินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงสัทธินทรีย์-เห็นวิริยินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงวิริยินทรีย์-เห็นสตินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงสตินทรีย์-เห็นสมาธินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงสมาธินทรีย์-เห็นปัญญินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงปัญญินทรีย์-เห็นอนัญญตัญญัตญัสสามีตินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงอนัญญตัญญัตญัสสามีตินทรีย์-เห็นอัญญินทรีย์
นิ่ง..กลางดวงอัญญินทรีย์-เห็นอัญญาตาวินทรีย์
.............................................
หมายเหตุ:
แหล่งที่มาของข้อมูล:
- หนังสือมรรคผลพิสดาร ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ “เรื่อง ๑๔ อินทรีย์ ๒๒” หน้า ๑๓-๑๕.
- แนวเดินวิชาหลักสูตรวิชชามรรคผลพิสดาร “บทบัญญัติที่ ๑๔ อินทรีย์ ๒๒” หน้า 76-78. [book/p. 107-109]
*-*-*-*-*
-------------------------
เขียนโดย ดร. มนัส โกมลฑา Ph.D. (สหวิทยาการ)
www.manaskomoltha.net
Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/manas4299/
Line ID : manas4299
Youtube: https://www.youtube.com/user/mommeam4299/
โทรศัพท์ : 083-4616989

ธาตุ ๑๘ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

 

ธาตุ ๑๘ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

ขันธ์ ๕ เป็นดวงกลมใสสะอาดซ้อนกันอยู่  อายตนะภายในก็เป็นดวงกลมใสซ้อนอยู่ในขันธ์ ๕  ดังนั้น ขันธ์ ๕ กับ อายตนะภายในรวมกัน จึงมีดวงใส ๑๑ ดวงซ้อนกัน

ก่อนจะเดินวิชาอะไรก็ตาม เราจะต้องเดินวิชา ๑๘ กาย อนุโลม-ปฏิโลมอย่างต่้่ำๆ ๗ เที่ยว ยิ่งมากยิ่งดี เพื่อให้ดวงธรรมใส และกายธรรมใส

เมื่อดวงธรรมใสดีแล้ว กายธรรมใสดีแล้ว ก็ทำวิชาตามนี้ไปเลย

ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายมนุษย์, หยุดในนิ่งในใส, อธิษฐานต่อกายธรรมขอดูขันธ์ ๕, และดูการทำงานของอายตนะภายใน-ภายนอก

หยุดในนิ่งในใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..จุดเล็กใสใหม่ คือ ความละเอียดของขันธ์ ๕,

นิ่ง..ไปกลางจุดเล็กใสใหม่, หยุดในนิ่งในใส, จุดเล็กใสจะขยายออกเป็นดวง, หยุดในนิ่งในใส, จนเห็นดวงต่างๆ คือ
๑- ดวงที่ ๑ คือ ดวงรูป
๒- ดวงเวทนา – เห็น
๓- ดวงสัญญา – จำ
๔- ดวงสังขาร – คิด
๕- ดวงวิญญาณ – รู้
๖- ดวงตา/จักขายตนะ
๗- ดวงหู/โสตายตนะ
๘- ดวงจมูก/ฆานายตนะ
๙- ดวงลิ้น/ชิวหายตนะ
๑๐- ดวงกาย/กายายตนะ
๑๑- ดวงใจ/มนายตนะ
๑๒. จักขุธาตุ คือ ธาตุเห็นหรือธาตุรับรูป สี สัณฐาน
๑๓. โสตธาตุ คือ ธาตุได้ยินหรือธาตุรับฟังเสียง
๑๔. ฆานธาตุ คือ ธาตุได้กลิ่นหรือธาตุรับกลิ่น
๑๕. ชิวหาธาตุ คือ ธาตุรับรส
๑๖. กายธาตุ คือ ธาตุรับสิ่งสัมผัสทางกาย
๑๗. มโนธาตุ คือ ธาตะรับอารมณ์ทางใจ
๑๘. รูปธาตุ คือ ธาตุของรูป สี สัณฐาน
๑๙. สัททธาตุ คือ ธาตุของเสียง
๒๐. คันธธาตุ คือ ธาตุของกลิ่น
๒๑. รสธาตุ คือ ธาตุของรส
๒๒. โผฏฐัพพธาตุ คือ ธาตุที่เป็นสิ่งสัมผัสทางกาย
๒๓. ธัมมธาตุ คือ ธาตุอารมณ์ทางใจ
๒๔. จักขุวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้รูป หรือ เห็น รูป สี สัณฐาน
๒๕. โสตวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้เสียง หรือได้ยินเสียง
๒๖. ฆานวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้กลิ่น หรือได้กลิ่น
๒๗. ชิวหาธาตุ คือ ธาตุรับรู้รส หรือได้รับรส
๒๘. กายวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้การสัมผัส หรือรู้สึกในอารมณ์สุขและอารมณ์ทุกข์
๒๙. มโนวิญญาณธาตุ คือ ธาตุรับรู้อารมณ์ รับรู้ธรรมาภรณ์ จดจำอารมณ์ คิดถึงอารมณ์

เดินวิชาถอยหลังมาที่ดวงใจ (ดวงที่ ๑๑)  นิ่ง ..กลางดวงใจ, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..ดวงจักขุธาตุ (ดวงที่ ๑๒)
นิ่ง..กลางดวงจักขุธาตุ, , เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงรูปธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงรูปธาตุ, ดวงจักขุวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดรูปที่จักษุประสาท, แล้วรูปก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, กลางดวงจักขุธาตุ, เห็น..ดวงโสตธาตุ,
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, นิ่ง... กลางดวงโสตธาตุ, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงสัททธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงสัททธาตุ, ดวงโสตวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดเสียงที่โสตประสาท, แล้วเสียงก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, กลางดวงโสตธาตุ, เห็น..ดวงฆานธาตุ,
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, นิ่ง... กลางดวงฆานธาตุ, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงคันธธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงคันธธาตุ, ดวงฆานวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดกลิ่นที่ฆานประสาท, แล้วกลิ่นก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, กลางดวงฆานธาตุ, เห็น..ดวงชิวหาธาตุ,
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, นิ่ง... กลางดวงชิวหาธาตุ, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงรสธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงรสธาตุ, ดวงชิวหาวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดรสที่ชิวหาประสาท, แล้วรสก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, กลางดวงชิวหาธาตุ, เห็น..ดวงกายธาตุ,
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, นิ่ง... กลางดวงกายธาตุ, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงโผฏฐัพพธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงโผฏฐัพพธาตุ, ดวงกายวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดสัมผัสที่กายประสาท, แล้วสัมผัสก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ

หยุดในนิ่งในใสๆๆ, กลางดวงกายธาตุ, เห็น..ดวงมโนธาตุ,
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, นิ่ง... กลางดวงมโนธาตุ, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, ดวงธัมมธาตุก็มาซ้อน, นิ่ง..กลางดวงธัมมธาตุ, ดวงมโนวิญญาณธาตุก็มาซ้อน,
ขณะที่ดวงทั้ง ๓ ซ้อนกัน เกิดการประสานงานกัน, จากนั้น ก็เกิดอารมณ์ที่มโนประสาท, แล้วสัมผัสก็กลับมาที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕,
อายตนะใจที่อยู่ในกำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ก็จะทำงานคือ พอใจ หรือไม่พอใจ หรือเฉยๆ
.............................................
หมายเหตุ:
แหล่งที่มาของข้อมูล:
- หนังสือมรรคผลพิสดาร ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ “เรื่อง ๑๓ ธาตุ ๑๘” หน้า ๑๒-๑๓.
- แนวเดินวิชาหลักสูตรวิชชามรรคผลพิสดาร “บทบัญญัติที่ ๑๓ ธาตุ ๑๘” หน้า 67--72. [book p. 95-112]

-------------------------
เขียนโดย ดร. มนัส โกมลฑา Ph.D. (สหวิทยาการ)
www.manaskomoltha.net
Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/manas4299/
Line ID : manas4299
Youtube: https://www.youtube.com/user/mommeam4299/
โทรศัพท์ : 083-4616989

อายตนะ ๑๒ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

 

อายตนะ ๑๒ วิชชาธรรมกายเดินวิชาอย่างไร?

อายตนะภายใน ๖ ก็ลักษณะเป็นดวง ซ้อนเข้าไปจากขันธ์ ๕  ดังนี้

ดวงที่ ๖... ตา
ดวงที่ ๗... หู
ดวงที่ ๘... จมูก
ดวงที่ ๙...ลิ้น
ดวงที่ ๑๐... กาย
ดวงที่ ๑๑...ใจ

การเดินวิชา เราก็จะเดินกันแบบนี้....

ก่อนจะเดินวิชาอะไรก็ตาม เราจะต้องเดินวิชา ๑๘ กาย อนุโลม-ปฏิโลมอย่างต่้่ำๆ ๗ เที่ยว ยิ่งมากยิ่งดี เพื่อให้ดวงธรรมใส และกายธรรมใส

เมื่อดวงธรรมใสดีแล้ว กายธรรมใสดีแล้ว ก็ทำวิชาตามนี้ไปเลย

*-*-*-*-
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายธรรม, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..กายอรูปพรหม
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายอรูปพรหม, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..กายพรหม
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายพรหม, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..กายทิพย์
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายทิพย์, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..กายมนุษย์

ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายมนุษย์, หยุดในนิ่งในใส, เห็น..จุดเล็กใส, อธิษฐานใจต่อกายธรรมขอดูขันธ์ ๕,
นิ่ง..ไปกลางจุดเล็กใส, นึกขยายดวงขันธ์ ๕ ให้ใหญ่ขึ้น
นิ่ง..กลางดวงธรรมของขันธ์, เห็น..จุดเล็กใส, หยุดในนิ่งในใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป, เห็น..ดวงธรรมของตา,

นิ่ง..กลางดวงตา-เห็น..ดวงหู, นิ่ง..กลางดวงหู-เห็น..ดวงจมูก, นิ่ง..กลางดวงจมูก-เห็น..ดวงลิ้น, นิ่ง..กลางดวงลิ้น-เห็น..ดวงกาย, นิ่ง..กลางดวงกาย-เห็น..ดวงใจ,
ขยับใจถอยหลังมาหาดวงธรรมของตา, นิ่ง..กลางดวงธรรมของตา, เห็น.. “จักขายตนะ” มีลักษณะสัณฐานกลม, ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่กลางแววตาซ้ายขวา
หยุดในนิ่งในใส, เห็น.. “จักขุธาตุ” นิ่ง..กลางดวงจักขุธาตุ, เห็น..ดวงจักขุวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงจักขุวิญญาณธาตุ, เห็น..สายสองสาย ซ้ายและขวาของดวงจักขุวิญญาณธาตุ ผ่านไปที่สมอง แล้วมารวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕

นิ่ง..กลางดวงธรรมของหู, เห็น.. “โสตายตนะ” มีลักษณะสัณฐานกลม, ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่กลางแก้วหูซ้ายขวา
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น.. “โสตธาตุ” นิ่ง..กลางดวงโสตธาตุ, เห็น..ดวงโสตวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงโสตวิญญาณธาตุ, เห็น..สายสองสาย ซ้ายและขวาของดวงโสตวิญญาณธาตุ ผ่านไปที่สมอง แล้วมารวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕
นิ่ง..กลางดวงธรรมของหู, เห็น..จุดเล็กใส,  นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป เห็น..ดวงจมูก

นิ่ง..กลางดวงธรรมของจมูก, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น..“ฆานายตนะ” มีลักษณะสัณฐานเหมือนกีบกวางหรือปีกริ้น ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่ที่ขื่อจมูกข้างในซ้ายขวา
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น.. “ฆานธาตุ” นิ่ง..กลางดวงฆานธาตุ, เห็น..ดวงฆานวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงฆานวิญญาณธาตุ, เห็น..สายสองสาย ซ้ายและขวาของดวงฆานวิญญาณธาตุ ผ่านไปที่สมอง แล้วมารวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕
นิ่ง..กลางดวงธรรมของจมูก, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป เห็น..ดวงลิ้น

นิ่ง..กลางดวงธรรมของลิ้น,  เห็น.. “ชิวหายตนะ” มีลักษณะสัณฐานดอกบัวหรือกลีบบัว, ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่ที่ขื่อจมูกข้างในซ้ายขวา
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น “ชิวหาธาตุ” นิ่ง..กลางดวงชิวหาธาตุ, เห็น..ดวงชิวหาวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงชิวหาวิญญาณธาตุ, เห็น..สายสองสาย ซ้ายและขวาของดวงชิวหาวิญญาณธาตุ ผ่านไปที่สมอง แล้วมารวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕
นิ่ง..กลางดวงธรรมลิ้น, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป เห็น..ดวงกาย

นิ่ง..กลางดวงธรรมของกาย, เห็น.. “กายายตนะ” มีลักษณะสัณฐานดอกบัว, ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่ทั่วทุกขุมขน
หยุดในนิ่งในใส, เห็น.. “กายธาตุ” นิ่ง..กลางดวงกายธาตุ, เห็น..ดวงกายวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงกายวิญญาณธาตุ, เห็น..สายกระจายอยู่ทั่วกาย ผ่านไปที่สมอง แล้วมารวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕
นิ่ง..กลางดวงกาย, เห็น..จุดเล็กใส, นึก..ให้จุดเล็กใสว่างออกไป เห็น..ดวงใจ

นิ่ง..กลางดวงธรรมของใจ, หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น “มนายตนะ” มีลักษณะสัณฐานกลม, ใสสะอาดบริสุทธิ์ ตั้งอยู่กลางเนื้อหัวใจ
หยุดในนิ่งในใสๆๆ, เห็น “มโนธาตุ” นิ่ง..กลางดวงมโนธาตุ, เห็น..ดวงมโนวิญญาณธาตุ
นิ่ง..กลางดวงมโนวิญญาณธาตุ, เห็น..สายหยั่งไปรวมกันที่กำเนิดเดิมธาตุธรรมเดิมของขันธ์ ๕

ดูการทำงานของอายตนะภายนอก ๖
ส่งใจกายธรรม, นิ่ง..กลางดวงธรรมของกายมนุษย์, เห็น..จุดเล็กใส, หยุดในนิ่งในใส, เห็นดวงขันธ์ ๕,
นิ่ง..กลางดวงธรรมของขันธ์ ๕, เห็น..จุดเล็กใส, หยุดในนิ่งในใส, นึก..ให้จุดเล็กใสขยายออกไปเป็นดวงดวงธรรมของขันธ์ ๕ และอายตนะ ดังนี้,
๑- ดวงที่ ๑ คือ ดวงรูป
๒- นิ่ง..กลางดวงรูป-เห็น..ดวงเวทนา
๓- นิ่ง..กลางดวงเวทนา-เห็น..ดวงสัญญา
๔- นิ่ง..กลางดวงสัญญา-เห็น..ดวงสังขาร
๕- นิ่ง..กลางดวงสังขาร-เห็น..ดวงวิญญาณ
๖- นิ่ง..กลางดวงวิญญาณ-เห็น..ดวงตา
๗- นิ่ง..กลางดวงตา-เห็น..ดวงหู
๘- นิ่ง..กลางดวงหู-เห็น..ดวงจมูก
๙- นิ่ง..กลางดวงจมูก-เห็น..ดวงลิ้น
๑๐- นิ่ง..กลางดวงลิ้น-เห็น..ดวงกาย
๑๑- นิ่ง..กลางดวงกาย-เห็น..ดวงใจ

เดินวิชาลำดับดวงอายตนะถอยหลังจากดวงที่ ๑๑ มาถึงดวงที่ ๖ คือ ดวงตา

นิ่ง..กลางดวงธรรมของตา, เห็น..จุดเล็กใส, หยุดในนิ่งในใส, นึก..ให้จุดเล็กว่างออกไป, ให้หยุดใจดู จะเห็นว่า, เมื่อรูปเข้ามา จะมีเมล็ดสีขาวของสายใยขาวสองเส้นออกมาจากแววตาซ้ายขวาของจักษุประสาท, มาเปิดรับเอารูปนั้นเข้าไป

รูปนั้นจะถูกส่งไปที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ขันธ์ ๕ ก็จ่ายงาน, งานนี้ส่งมาที่ดวงธรรมของตา, วิญญาณของตาก็ตีความ

นิ่ง..กลางดวงธรรมของตา, เห็น..จุดเล็กใส, หยุดในนิ่งในใส, นึก..ให้จุดเล็กว่างออกไป, ให้หยุดใจดู จะเห็นว่า, เมื่อรูปเข้ามา จะมีเมล็ดสีขาวของสายใยขาวสองเส้นออกมาจากแววตาซ้ายขวาของจักษุประสาท, มาเปิดรับเอารูปนั้นเข้าไป

รูปนั้นจะถูกส่งไปที่กำเนิดเดิมของขันธ์ ๕, ขันธ์ ๕ ก็จ่ายงาน, งานนี้ส่งมาที่ดวงธรรมของตา, วิญญาณของตาก็ตีความ  
.............................................

หมายเหตุ:
- ตำราสั่งให้ทำอายตนะที่เหลือให้ครบ
แหล่งที่มาของข้อมูล:
- หนังสือมรรคผลพิสดาร ฉบับพิมพ์ครั้งที่ ๓ “เรื่อง ๑๑ อายตนะภายใน ๖” หน้า ๙-๑๐. “เรื่อง ๑๒ อายตนะภายนอก ๖” หน้า ๑๑-๑๒.  
- แนวเดินวิชาหลักสูตรวิชชามรรคผลพิสดาร “บทบัญญัติที่ ๑๑ อายตนะภายใน ๖” หน้า 59-61. [book p. 81-83, 91] “บทบัญญัติที่ ๑๒ อายตนะภายนอก ๖” หน้า 61-62. [book p. 91-93]

ใครอยากเรียน #วิชชาธรรมกายชั้นสูงก็ติดต่อมาได้เลย

มีกฏกติกาคือ  ท่านต้องผ่านวิชา ๑๘ กายมาแล้ว  ถ้าไม่ผ่านก็ต้องมาเรียนวิชาพื้นฐานก่อน

-------------------------
เขียนโดย ดร. มนัส โกมลฑา Ph.D. (สหวิทยาการ)
www.manaskomoltha.net
Facebook Fanpage: https://www.facebook.com/manas4299/
Line ID : manas4299
Youtube: https://www.youtube.com/user/mommeam4299/
โทรศัพท์ : 083-4616989